The Boy In The Striped Pyjamas เด็กชายในชุดนอนลายทาง

มาถึงหนังที่ต้องบอกได้ว่า มีความรุนแรงในด้านทางอารมณ์ เรื่องนึงที่เคยดูมาเลย ก็คือเรื่อง The Boy In The Striped Pyjamas เป็นหนังในช่วงสงครามโลกที่หยิบเรื่องราวความขัดแย้งจากการทำสงคราม ในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 โดยศัตรู ในเรื่องนี้ ต้องขอบอกเนื้อหาของเรื่องมันสะเทือนใจ กับ จิตอ่อนพอสมควร แต่เรื่องนี้ สามารถดูได้ ทุกเพศ ทุกวัย และนำมาเป็นข้อคิดได้อีกด้วย

เรื่องย่อ The Boy In The Striped Pyjamas

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

The Boy In The Striped Pyjamas
The Boy In The Striped Pyjamas

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *

เริ่มจากครอบครัวหนึ่งที่อาศัยอยู่ ที่เบอร์ลิน ประเทศ เยอรมัน และในตอนนั้นก็อยู่ในช่วงสงครามโลก ทหารฝ่ายเยอรมันก็อยู่ในช่วงการทำสงคราม

และครอบครัวที่กำลังจะพูดถึงก็คือ ครอบครัวของ บรูโน่ เด็กชายทีอยู่มีอายุ เพียง 8 ขวบที่ครอบครัวจะต้องย้ายบ้านไปเพราะพ่อของเขาจะต้องไปดูแล ภารกิจอย่างหนึ่ง จึงต้องทำให้จะต้องย้ายไป ในต่างเมือง

และในการย้ายบ้านมาจากที่เดิมครั้งนี้ ก็เต็มไปด้วยข้อสงสัยมากมาย เนื่องจากมีค่าย ที่น่าสงสัยอยู่ค่ายหนึ่งจะมีควันสีดำออกมา และค่ายนั้น ก็คือค่ายที่เก็บตัวของพวกชาวยิว อยู่ในนั้น และทางครอบครัวชองบรูโน่ ก็ห้ามให้บรูโน่ นั้นเข้าใกล้ค่ายนั้น โดยเด็ดขาด

และการที่กีดกัน บรูโน่ ให้ห่างจากค่าย จึงทำให้เด็กชายหนุ่มนั้นเกิดความสงสัย มากขึ้นไปอีก จึงหาวิธีที่จะเข้าไปสำรวจ เพื่อหาเพื่อนเล่น จึงได้พบ กับเด็กที่อายุ รุ่นราวคราวเดียวกันและ เรื่องราวของเรื่องก็เริ่ม ขึ้น แต่จะต้องติดตามกันดูเองได้เลย นะครับ

ความรู้สึกหลังดู

ต้องขอบอกว่า เมื่อดูจบแล้ว รู้สึกสะเทือนใจมาก ตั้งแต่การที่ล้างสมองเด็กๆ ให้เชื่อว่าสิ่งไหนไม่ดี ตั้งแต่การเรียนหนังสือที่ให้ถูกปลูกฝังให้เด็กนั้น เกลียดชาวยิว ตั้งแต่ยังเด็ก แต่โดยรวม ถือว่าเรื่องนี้ เป็นหนังที่ดีเรื่องนึงเลย ดำเนินเรื่อง ไปแบบเรื่อยๆ ความเข้มข้นจะไปอยู่ท้ายเรื่อง และเรื่องนี้มีดราม่าตอนจบครับผม

รีวิว World War Z

เครดิต : ufabet888

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *